เข้าสู่ระบบ
|
สมัครสมาชิก
นโยบายการเป็นส่วนตัว
|
เงื่อนไขการคืนเงิน
19 กรกฎาคม 2566
ฉบับ PDF ใหม่
ฉบับ PDF
อ่านข่าวย้อนหลัง
Opinion
หน้าแรก
Digital scenario
Work Life Balance
Market Wise
เศรษฐกิจ
Health & Wellness
Sustainability
Leadership
ทัศนะวิจารณ์
Road to the White House
Property
Inno creative
Auto
หุ้น-ลงทุน
ธุรกิจ
การเมือง
Economic Scenes
Business
การเงิน-การลงทุน
Opinion
ต่างประเทศ
จุดประกาย
ปกหน้า
ควอนตัมคอมพิวเตอร์ พัฒนาการและผลกระทบ
ในยุคที่เทคโนโลยีก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ควอนตัมคอมพิวเตอร์ (Quantum Computer) และปัญญาประดิษฐ์ (AI) กำลังเป็นเทคโนโลยีนำการขับเคลื่อนโลกเศรษฐกิจและธุรกิจเข้าสู่ยุคใหม่อีกครั้ง
เม็ดเงินลงทุนR&Dต้องเพิ่ม
ตามที่ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เปิดเผยผลสำรวจค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) ของประเทศไทย ปี 2564 (รอบสำรวจปี 2565) ซึ่งเป็นช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้การสำรวจค่าใช้ด้านการวิจัยและพัฒนาเกิดการชะลอตัวลงเล็กน้อย พบว่าค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GERD/GDP) ของประเทศไทย อยู่ที่ร้อยละ 1.21 (จากเดิม 1.33)
กินรวบ ผูกขาด มีอำนาจเหนือตลาด...ผิดด้วยหรือ?
“กินรวบ” คือคำที่คนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าเป็นพฤติกรรมการผูกขาดตลาดของธุรกิจรายใหญ่ แต่แท้จริงแล้วคำว่ากินรวบ น่าจะหมายถึง การที่บริิษััทบางรายดำเนินธุรกิจตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ หรืออาจกล่าวได้ว่า ดำเนินธุรกิจครอบคลุมทุกมิติของการดำเนินชีวิตของผู้บริโภคมากกว่า
ความพยายามเบี่ยงเบนจากข้อเท็จจริง (2)
เมื่อวันที่ 1 ก.ย.2565 ประธานคณะกรรมาธิการการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร ได้เชิญผู้อำนวยการกองงานคณะกรรมการควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) เข้าร่วมประชุมกับคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อระบบสุขภาพ และติดตามการบังคับใช้กฎหมายด้านการสาธารณสุข
เงินเฟ้อ เงินฝืด วิกฤติ
สัปดาห์ที่ผ่านมา พัฒนาการใน 3 เศรษฐกิจสำคัญเป็นไปตามผู้เขียนกังวลมากขึ้น คือ (1) ตัวเลขเงินเฟ้อสหรัฐลดลงมาก แต่ธนาคารกลาง (Fed) ยังคงส่งสัญญาณพร้อมขึ้นดอกเบี้ยต่อ ซึ่งจะกดดันความตึงตัวทางการเงินมากขึ้น (2) เงินเฟ้อผู้บริโภคจีนที่กลับมาไม่เติบโตอีกครั้ง (ขยายตัว 0%) ขณะที่เครื่องชี้วัดอื่นๆ บ่งชี้ว่ากำลังเข้าสู่ภาวะเงินฝืด โดยเฉพาะ GDP ไตรมาส 2 ที่ขยายตัวต่ำกว่าคาดมาก
มาตรการแก้หนี้เรื้อรัง คุ้มหรือเสียกับผู้กู้?
ล่าสุด ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เดินหน้าออกมาตรการ “แก้หนี้ครัวเรือนอย่างยั่งยืน” หลังลดหนี้ครัวเรือนในระบบ ทั้งหนี้เก่าที่ค้างอยู่ในระบบ และหนี้ใหม่ที่กำลังจะก่อตัวขึ้นในอนาคต
วิกฤติอาจมาเยือนถ้ายังไม่เร่งตั้ง 'นายกฯ'
เศรษฐกิจโลกยังคงมีเค้าลางความเสี่ยงของ "ภาวะถดถอย" ให้เห็นอยู่เป็นระยะ แม้ว่าจะมาช้ากว่าที่นักเศรษฐศาสตร์หลายๆ สำนักคาดการณ์เอาไว้ก็ตาม แต่ทุกคนยังลงความเห็นตรงกันว่า ไม่ปลายปีนี้ก็ต้นปีหน้าเราคงได้เห็นการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกที่ชัดเจนมากขึ้น
สมัครสมาชิก iNewsPaper
×
สมัครสมาชิก i-Newspaper โฉมใหม่วันนี้
ทำให้การรับข่าวสารของคุณเป็นเรื่องง่าย ด้วยฟีเจอร์อ่านข่าวสามารถรับฟังได้ทุกแพลตฟอร์ม ครบเครื่องหลากหลายเรื่องราว พร้อมภาพเหตุการณ์เต็มอิ่มและเชื่อมต่อกับข่าวสาร www.bangkokbiznews.com เพียงคลิกเดียว
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ
กรุณาใส่ "ชื่อ" ของท่าน
นามสกุล
กรุณาใส่ "นามสกุล" ของท่าน
อีเมล
กรุณาใส่อีเมลให้ถูกต้อง (จำเป็นต้องมี @ หรือ .com)
เบอร์โทรศัพท์
ต้องเป็นตัวเลข 10 หลักเท่านั้น
ข้อมูลบัญชีผู้ใช้
ชื่อผู้ใช้ (อีเมล)
กรุณาใส่ "ชื่อผู้ใช้" ของท่าน
รหัสผ่าน
ต้องมีอย่างน้อย 6 หลักขึ้นไป
ยืนยันรหัสผ่าน
ต้องมีอย่างน้อย 6 หลักขึ้นไป
รหัสผ่านยืนยันของท่านไม่ถูกต้อง
เข้าสู่ระบบ iNewsPaper
×
ชื่อผู้ใช้ (อีเมล)
รหัสผ่าน
ลืมรหัสผ่าน
ลืมรหัสผ่าน
×
ระบุบัญชีผู้ใช้งาน (อีเมล)
ส่ง link แก้ไขรหัสผ่าน
การล็อกอินไม่ถูกต้อง
×
ชื่อผู้ใช้ หรือ รหัสผ่านไม่ถูกต้อง